Posts

Showing posts from 2011

0130: สองสูง

คือเห็นข้อเขียนนี้จากเวป http://board.thaivi.org//viewtopic.php?p=389191 นี้อ่ะครับ เห็นว่าน่าสนใจมาก จุดที่ยังไม่เคลียร์ของบทความคือที่บอกว่ากดค่าแรงให้ต่ำ ประเทศไทยกดค่าแรงอย่างไร ซึ่งบทความนี้ไม่ได้บอกไว้ แต่ที่ผมจะขอชี้เพิ่มเติมคือการที่ประเทศไทยกดค่าแรงให้ต่ำ และกดของให้ราคาต่ำไว้ด้วย "นโยบายค่าเงินบาทอ่อนครับ" เมื่อสินค้าส่งออกของเรามีราคาถูกอยู่ตลอด จึงเท่ากับว่าไอ้เงินที่ได้มาก็น้อยกว่าที่ควรจะได้อยู่ตลอด หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเราเอาความเป็นอยู่ของคนมาแลกกับการที่จะขายของถูกๆ ขายได้มากๆ (ของผู้ส่งออก) อยู่ตลอดเวลารึเปล่าเอ่ย ลองคิดดูว่าเงินทุกดอลลาร์ที่เข้ามาในประเทศ มันทำให้เงินบาทแข็งขึ้น ซึ่งจะทำให้อำนาจซื้อของคนไทยเพิ่มขึ้นทุกครั้งที่บาทแข็งขึ้น หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ เมื่อค่าเงินบาทแข็งขึ้นก็ทำให้ค่าแรงขึ้นอยู่ตลอด ลองคิดดูว่า ไม่ต้องอะไรมาก ค่าแรงขั้นต่ำ200บาท ที่ 40 บาท ต่อดอลลาร์ ย่อมจนกว่า ค่าแรงขั้นต่ำที่ 200บาท ต่อ 20 บาท ต่อดอลลาร์อย่างเห็นๆ  เค้าเขียนมาแบบนี้ครับ ผมยังไม่ทราบว่าพี่สุมาอี้คิดเอง หรือเอามาจาเจ้าสัวซีพีพูดไว้ก่อนครับ พี่สุมาอี้ wrote: 0130: ส

หยุดโทษนักการเมืองซะที (ประชาชน)หันมาดูตัวเองบ้าง

คริส โปตระนันทน์ บทความนี้ ผมเขียนขึ้นมาสมัยอยู่ปี4 ที่นิติศาสตร์จุฬา ไม่ได้ส่งไปตีพิมพ์ ที่ไหน แต่เห็นว่าสั้นๆ ดและยังน่าจะเป็นประโยชน์อยู่ เพื่อนๆลองอ่านดูนะครับ จริงไม่จริง เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ถกเถียงกันได้ครับ  ผมไม่เข้าใจ ปีสองปีที่ผ่านมา ไม่ว่าผมจะอ่านข่าวอะไร ดูข่าวสำนักข่าวไหน แม้แต่คุยกะคนทั่วไปตามถนน คำก็ชั่ว สองคำก็เลว ปัญหาทุกอย่างในประเทศไทย โยนให้นักการเมือง โยนให้คนมีอำนาจเค้าทั้งหมด ต้นเหตุทุกๆอย่างเกิดจากมัน นักการเมือง ( ไม่ว่าสีไหน ก็ด่าอีกสีนึง อยู่ดี ว่ามันชั่ว ) ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาคอรัปชั่น ปัญหาสังคม มองเผินๆก็ดูเหมือนจะจริง ก็เพราะพวกมันไม่ใช่เหรอที่ทำให้ประเทศไทยไม่เจริญอยู่อย่างนี้ แต่มองให้ลึกแล้ว ผมว่าไม่ใช่ นักการเมืองพวกนี้เค้าเข้ามาได้ เพราะใคร ถ้าไม่ใช่ประชาชนเลือกเข้ามา ก็มีคนเถียงขึ้นมาอีกล่ะ ก็พวกมันซื้อเสียงเข้ามาไง มันถึงเข้ามาอยู่ในสภาหินอ่อนได้ทุกวันนี้ สรุปว่า นักการเมืองผิดที่ซื้อเสียงเข้ามา แล้วคนที่ขายเสียงล่ะ ผิดมั้ย ก็คงมีเสียงตะโกนชึ้นมาอีกว่า พวกมันที่ขายเสียงแหละผิด แล้วสรุปว่า คนที่ขายเสียงผิด  กูไม่ผิด ( ประชาชนทั่วไป ) แต่ผมค

หมายเหตุประชาธิปไตยเชิงProductive (PS. Productive Democracy)

คริส โปตระนันทน์ เผอิญ พอเลือกตั้งเสร็จผมก็ผ่านไปเจอคอมเม้นในเฟซบุ้ก ทวิตเตอร์มากมายเกี่ยวกับการเลือกตั้ง จริงๆก็เป็นสิ่งที่ผมคาดว่าจะเห็นอยู่แล้วล่ะครับ แต่มันน่าตกใจมากกว่านั้น คือแต่ละความคิดมันแรงมาก  ถึงขนาดว่า พระเจ้าจอร์จ Please don't do it at ur home ก็เลยเขียนคอมเม้นเกี่ยวกับการเลือกตั้งครั้งนี้ขึ้นครับ การเลือกตั้งที่ยิ่งลักษณ์นำทัพเพื่อไทยพิชิตประชาธิปัตย์ ชนิดแลนด์ไสลด์ ทีนี้ไอ้ที่มันลำบากก็ลำบากผู้ชมทางบ้างอย่างผมนี่แหละ ที่นั่งดูกองเชียทั้งสองฝ่ายฟาดงวง ฟาดงา  ยกตัอย่างเช่น "ไอ้พวกโง่ แม่งเผาเมืองปีที่แล้ว ยังควายเ-ือกเลือกเข้ามาอีก" "เป็นไงติ๋มกันไปเลยดิ นึกว่าจะชนะล่ะสิ ไอ้พวกผู้ดี-ีนแดง พวกกรูครองเมืองแล้วเว้ย แล้วจะได้เห็นดีกัน" เป็นเพียงสองตัวอย่างความคิดเห็น แต่แค่ผมจะบอกว่าในคืนวันที่ 3 กรกฎา คอมเม้นพวกนี้มีเป็นสิบๆอันครับ ก็ลองอ่านที่ผมเขียนดูในเฟซบุ้่กคืนนั้นดูหน่อย เผื่อจะตั้งสติได้ครับ "เห็นบงกชรีเควสเลยจัดให้ชุดนึง:คิดเอาไว้เป็นฉลากยาที่เค้าไม่ได้ให้ตอนกาบัตรเสร็จ สำหรับแฟนพรรคที่ชนะการเลือกตั้ง 1.มันยังไม่จบแค่นี้ อย่าพึ่งเห

An Alternative Take on the Thaksin Shinnawattra's Confiscation Ruling and Concessions for Mobile Phone Service Providers

(Translated Version) By: Chris Potranandana LL.B (Second Class Honor), Chulalongkorn University Thai Post Newspaper—Wednesday 3 March 2009 With regard to the recent judgment handed down by the Supreme Court on 26 February regarding mobile phone concessions, there are many interesting points worth examining and which deserve further academic scrutiny.  With deepest respect to the court of law, this article was not written with the intention of addressing the correctness of the judgment or to take the side of any party, but to academically examine different aspects of the judgment in terms of state and economic policies that affect the interests of the Thai people on the whole. The judgment addressed a number of issues such as the conversion of concession fees into an excise tax through the enactment of an ordinance amending the Excise Tariff Act of 1984 and 2003, or the amending of the One-2-Call contract which diluted the share to revenue ratio set for mobile services using pre

Rights, Liberty, Constitution and the Rule of Law: Theory that Never Existed in Thai Society

(Translated Version) By:  Chris Potranandana Siamrath newspaper 29/04/2010 ,  Krungthep Turakij newspaper  04/05/2010 As political battles are increasingly flaring up, Thailand has never ever witnessed so much confusion— not to mention the mass gathering of the “red shirts” or the M 79 grenades that have showered over Bangkok more than a month now.   And yet there has been action by various groups to help diffuse the situation, including a proposed solution to the political crisis through amendments to the Constitution. This writer is of the opinion that if readers have a basic knowledge of the background of the political situation in Thailand, they will have a better understanding of these events. The term “constitution,” according to the general public’s understanding and to the traditional textbooks taught in tertiary level education, mainly refers to the indisputable supreme law of the state with important details as to the form of government, constitutional organization, ad

คำพิพากษาศาลปกครอง เรื่องให้เพิกถอนการเลือกตั้ง ถูกต้องจริงหรือ?

คริส โปตระนันทน์ นิสิตชั้นปีที่ 4 บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ 2 สอนโดย  ศ.ดร. ศุภลักษณ์ พินิจภูวดล   คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 คำพิพากษาศาลปกครองที่ผู้เขียนจะนำมาวิเคราะห์ ณ ที่นี้ คือ คำพิพากษาศาลปกครองในปี พ . ศ . 2549 ในเรื่องของการเพิกถอนเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ . ศ . 2549 เนื่องจากก่อนหน้าที่ศาลปกครองจะมีคำพิพากษาออกมาในปีนั้น ศาลรัฐธรรมนูณได้ทำการเพิกถอนเลือกตั้งไปแล้วในวันที่ 8 พฤษภาคม พ . ศ . 2549 ในคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549 ทำให้คำพิพากษาในคดีนี้ซึ่งออกมาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ . ศ . 2549  ไม่ได้รับการพูดถึงมากนักในสังคม ทั้งๆ ที่คำพิพากษานี้มีความน่าสนใจในเชิงวิชาการเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นการที่ศาลปกครองที่มีหน้าที่หลักในการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายบริหารเป็นหลักได้ขยายอำนาจของศาลจนครอบคลุมถึงอำนาจขององค์กรอิสระซึ่งก็คือ ก . ก . ต . ด้วย โดยรายละเอียดคำพิพากษามีดังต่อไปนี้   "ตามที่ศาลปกครองกลางได้มีคำสั่งรับคำฟ้องคดีหมายเลขดำที่ ๖๑๗ / ๒๕๔๙ ระหว่างนายโพธิพงศ์ บรรลือวงศ์